ครม. อนุมัติ ร่างกฎกระทรวง รถยนต์ขับได้สูงสุด 120 กม./ชม.

ครม. อนุมัติ ร่างกฎกระทรวง รถยนต์ขับได้สูงสุด 120 กม./ชม.

ครม. ได้ทำการอนุมัติผ่าน กฎกระทรวง โดยให้พาหนะที่เคลื่อนที่ใน เลนขวา สามารถ ขับเร็ว ได้ถึง 100-120 กม./ชม. โดยจะใช้งานบนถนนสายเอเชียนำร่อง ก่อนพิจารณาเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ทาง ครม. ได้มีประกาศอนุมัติผ่าน กฎกระทรวง ว่าด้วยความเร็วของยานพาหนะ โดยยานพาหนะในพื้นที่ เลนขวา สามารถ ขับเร็ว ได้ถึง 100-120 กม./ชม. โดยจะมีการบังคับใช้ในพื้นที่ถนนสายเอเชีย บางปะอิน – อ่างทอง นำร่องก่อนจะพิจารณาใช้เพิ่มเติม

น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 

ได้ทำการชี้แจงเพิ่มว่า ผลจากการอนุมัติดังกล่าวนั้นจะเริ่มบังคับใช้ในช่วงเดือน ธันวาคม นี้ และยังต้องมีการดำเนินการตามขั้นตอนไปอีก 2 สัปดาห์

ซึ่งร่างกฎกระทรวงฉบับนี้เป็นการกำหนดความเร็วในการขับรถในทางหลวงแผ่นดินทางหลวงชนบท ที่มีทางเดินรถแบบจัดแบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่2 ช่องเดินรถ มีเกาะกลางถนนเฉพาะแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) และไม่มีจุดกลับรถเสมอระดับถนน รวมทั้งการกำหนดความเร็วขั้นต่ำสำหรับการขับรถในช่องเดินรถช่องทางขวาสุดในทางหลวงเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อภาคการขนส่งและจราจรของประเทศ สามารถแก้ไขปัญหาจราจรให้มีความคล่องตัวมากขึ้น

โดยได้กำหนดความเร็วขั้นต่ำสำหรับช่องขวาสุดของทางเดินรถในทางหลวง ซึ่งแบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันตั้งแต่ 2 ช่องทางขึ้นไปไว้ที่ไม่ต่ำกว่า 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่วนเขตทางที่มีป้ายหรือเครื่องหมายจราจรแสดงว่าเป็นเขตอันตราย หรือเขตให้ขับรถช้าๆ ให้ลดความเร็วลงและเพิ่มความระมัดระวังขึ้นตามสมควร

สำหรับ ในกรณีที่มีเครื่องหมายจราจรกำหนดอัตราความเร็วขั้นสูงต่ำกว่าที่กำหนดไว้ข้างต้น ไม่ว่าตลอดทางเดินรถหรือช่วงใดช่วงหนึ่ง ให้ผู้ขับขี่รถทุกประเภทขับไม่เกินอัตราความเร็วขั้นสูงที่กำหนดไว้ในเครื่องหมายจราจรนั้น ยกเว้นในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติได้เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องปริมาณรถ หรือเหตุขัดข้องอื่นอันมีเหตุผลสมควรแก่กรณี

ซึ่งการกำหนดเครื่องหมายจราจรนั้นต้องแสดงให้ผู้ขับขี่เห็นได้ชัดเจนก่อนถึงทางเดินรถหรือช่วงที่กำหนด ในระยะเพียงพอที่ผู้ขับขี่จะสามารถลดความเร็วเพื่อปฏิบัติตามเครื่องหมายจราจรนั้นได้ และต้องแสดงเครื่องหมายเป็นระยะตลอดจนสิ้นสุดทาง หรือช่วงที่กำหนด

โดยวันเวลาดังกล่าวที่จัดการชุมนุมสอดคล้องกับการที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเรื่องบ้านพักหลวง หรือบ้านพักทหาร ในราบ 1 ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่หากศาลตัดสินว่ามีความผิด จะทำให้พลเอกประยุทธ์ต้องหลุดจากเก้าอี้นายก และอาจโดนตัดสิทธิ์ทางการเมืองด้วย

โดยทางเพจระบุว่า “วันที่ 2 ธันวาคมถือเป็นอีกหนึ่งวันในหน้าประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่จะชี้ชะตาการเมืองไทยว่าจะเดินไปในทิศทางใด เพราะว่าศาลรัฐธรรมนูญจะทำการตัดสินคดีของ “ประยุทธ์ จันทร์โอชา” เรื่อง “บ้านพัก” ซึ่งหากมีความผิดจริงแล้วนั้น จะทำให้ ประยุทธ์สามารถหลุดออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หากศาลรัฐธรรมนูญเล็งเห็นว่าเป็นการฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญเนื่องจากขาดคุณสมบัติ”

เพจ iLaw เผย สิ่งที่จะเกิดขึ้น หาก ประยุทธ์ เด้ง ปม บ้านหลวง

วันที่ 2 ธ.ค. ถือเป็นวันชี้ชะตาสถานภาพนายกรัฐมนตรีของ ประยุทธ์ จากการอ่านคำวินิจฉัย กรณีปม บ้านหลวง หรือ บ้านทหาร ซึ่งทางเพจเกี่ยวกับกฏหมายชื่อดังได้ออกมาอธิบายถึง สิ่งที่จะเกิดขึ้น หาก บิ๊กตู่ พ้นตำแหน่ง เพจเฟซบุ๊ก iLaw ได้ออกมาอธิบายถึง กระบวนการต่อไป หาก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ถูกตัดสินให้พ้นสภาพจากการเป็นนายกรัฐมนตรี จากกรณีปม บ้านทหาร หรือ บ้านหลวง ที่พลเอก ประยุทธ์ ได้ทำการพักอาศัยอยู่ในบ้านหลังดังกล่าว แม้จะเกษียณอายุราชการแล้วก็ตาม และอาจจะเข้าข่ายเป็นการกระทำอันเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด

ซึ่งตามรัฐธรรมนูญปี 50 ได้ระบุว่า คุณสมบัติของรัฐมนตรี ต้องไม่เป็นผู้เคยพ้นจากตําแหน่งเพราะเหตุกระทําการอันเป็นการต้องห้ามตามมาตรา 186 หรือ มาตรา 187 ที่ว่าด้วย รัฐมนตรีกระทำการอันเป็นการกระทำต้องห้ามตามมาตรา 184 หรือกระทำอันเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ มาแล้วยังไม่ถึง 2 ปี นับถึงวันแต่งตั้ง

กล่าวคือพลเอกประยุทธ์ จะต้องเว้นวรรคทางการเมืองเป็นระยะเวลา 2 ปี อีกทั้ง ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 167 ยังกำหนดด้วยว่า รัฐมนตรีทั้งคณะต้องพ้นจากตำแหน่งเมื่อความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา 170 ดังนั้น บรรดารัฐมนตรีที่นายกฯเป็นคนเสนอชื่อแต่งตั้งก็จะต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยแต่ให้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่

โดยปัจจัยสำคัญที่ทำให้ระบอบคสช. ยังคงดำรงต่อไปได้ ก็คือ การที่รัฐธรรมนูญ ปี 60 มาตรา 269 กำหนดให้ ส.ว. ชุดแรก มาจากการคัดเลือกโดยคสช. จำนวน 250 คน และในมาตรา 272 กำหนดว่า การให้ความเห็นชอบผู้ดำรงตำแหน่งนายกฯ ต้องมาจากที่ประชุมร่วมของรัฐสภา หรือหมายความว่า ส.ว. 250 คน ของคสช. ยังคงมีอำนาจร่วมเลือกนายกฯ และที่ผ่านมา ส.ว. ชุดนี้ก็เป็นตัวแปรสำคัญในการเลือกนายกฯ และทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ ยังรักษาตำแหน่งนายกฯ ไว้ได้หลังการเลือกตั้ง

นอกจากนี้ มาตรา 272 ในบทเฉพาะกาลก็มีทางเลือกพิเศษเอาไว้ ในกรณีที่ไม่สามารถเลือกนายกฯ จากบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองเสนอได้ ให้ใช้การลงมติของ ส.ส. + ส.ว. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของรัฐสภา หรือเกือบ 500 เสียง ก็จะเปิดทางให้มีการเสนอชื่อ “นายกฯ คนนอก” หรือ การเสนอให้ใครก็ได้มาดำรงตำแหน่งนายกฯ ก็ได้

แนะนำ : รีวิวเครื่องใช้ไฟฟ้า | รีวิวอาหารญี่ปุ่น| รีวิวที่เที่ยว | ดาราเอวี